
หลักการ
TBIR
กลุ่มเป้าหมายผู้ขอรับทุน
เอกชนที่มีศักยภาพทำ RDI เองได้เป็นส่วนใหญ่
การมีหน่วยงานร่วมวิจัย
จะมีหรือไม่มีหน่วยงานร่วมวิจัยก็ได้
ร้อยละของการจ้างช่วง (Subcontract) ที่สามารถทำได้เพื่อสนับสนุน โครงการ
- ไม่เกิน 33% ในระยะที่ 1
- ไม่เกิน 50% ในระยะที่ 2
ร้อยละของกรอบงบประมาณที่ PMUs ต้องจัดสรรในมาตรการ TBIR/TTTR
ตาม กสว. ประกาศเป็นรายปี
TTTR
เอกชนที่มีศักยภาพบริหารโครงการ RDI เองได้ แต่อาจขาดอุปกรณ์ เครื่องมือ โครงสร้างพื้นฐาน หรือบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะเรื่อง
ต้องมีสถาบันวิจัย หรือสถาบันการศึกษาเป็น หน่วยงานร่วมวิจัย
- ไม่เกิน 60% ทั้ง 2 ระยะ
ตาม กสว. ประกาศเป็นรายปี
Title
Phase I (Feasibility Study) | Phase II (Prototype Development) | Phase III (Commercialisation) | |
แนวทางดำเนินงาน | สกสว. ร่วมกับ PMUs ดำเนินการ
| สกสว. ร่วมกับ PMUs ดำเนินการ
| PMUs ดำเนินการ
|
หมายเหตุ | *อาจให้ทุนกับ 2-3 ข้อเสนอโครงการ ในหัว ข้อประเด็นวิจัยและสร้างนวัตกรรมเดียวกัน *PMUs เป็นผู้กำหนดหลักเกณฑ์ และ กระบวนการรับทุน | *ผู้รับทุน TTTR ในระยะที่ 1 สามารถเสนอ ขอรับทุน TBIR ในระยะที่ 2 ได้ *ในกรณีที่โครงการมีศักยภาพเชิงเทคนิค และตลาดที่ชัดเจน PMUS สามารถเปิดให้ ทุน ในระยะที่ 2 ได้เลย โดยไม่จำเป็นต้อง ให้ทุนระยะที่ 1 ก่อน *PMUS เป็นผู้กำหนดหลักเกณฑ์ และ กระบวนการรับทุน | |
Period of performance | ไม่เกิน 1 ปี โดย PMUs สามารถขยายระยะ เวลาได้ตามความเหมาะสมของโครงการ | ไม่เกิน 2 ปี โดย PMUS สามารถขยายระยะ เวลาได้ตามความเหมาะสมของโครงการ | |
Amount of awards and Payment | ไม่เกิน 3 ลบ. /ข้อเสนอโครงการ | ไม่เกิน 10 ลบ. *PMUs สามารถขยายกรอบวงเงินได้ไม่เกิน 15 ลบ. |